วันอาทิตย์, 19 พฤษภาคม 2567

เพราะความพยายามไม่เคยทำร้ายใคร จาก”ลูกชาวนา” สู่ปลัดอำเภอหญิงอายุน้อย!

เพราะความพยายามไม่เคยทำร้ายใคร จากลูกชาวนา สู่ปลัดอำเภอหญิงอายุน้อย

ปัจจุบันชาวนาจะกลายเป็นอาชีwที่นับวันจะสูญหายไปจากสังคม เหลือแต่ชาวนาสูงวัย ลูกหลานชาวนาส่วนใหญ่ต่างเข้ามาทำ ง า น ในเมือง หรือเคลื่อนย้ายสู่แรง ง า น นอกภาคเกษตรมากขึ้น เwราะเห็นว่าอาชีwทำนาเป็น ง า น ที่หนัก ต้องพึ่งพาธรรมชาติ รายได้น้อยไม่แน่นอน และไม่มีสวัสดิการที่มั่นคง จึงทำให้เกิดความหวั่นวิตกว่าอนาคตข้างหน้าชาวนาอาจสูญพันธุ์ และส่งผลกระทบต่อสังคม

โลกวันนี้เปลี่ยนโฉมหน้าไปมาก และสังคมไทยก็เช่นกัน สังคมไทยที่เคยเป็นสังคมเกษตร ปัจจุบันไม่เป็นเช่นนั้นแล้ว เนื่องจากรายได้ภาคเกษตรมีสัดส่วนไม่ถึงร้อยละ 10 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศและมีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ

ดังนั้นจากแนวโน้มที่เห็น อาชีwเกษตรกรนั้น เป็นไปไม่ได้เลยที่หลายครอบครัวจะสืบทอดต่อจากบรรพบุรุษแล้วสร้างฐานะให้ร่ำรวยได้ ทำให้หลายครอบครัวมุ่งหวังอยากให้ลูกหลานรับราชการ เป็นเจ้าคนนายคนกันมากขึ้น หรือแม้แต่การทำธุรกิจอื่นๆ ที่ไม่ใช่เกษตรกร

การวางแผนในชีวิตที่ดีนั้นย่อมได้เปรียบ เwราะเสมือนเรามีเข็มทิศกำหนดทิศทางและเดินทางได้ถูกต้อง

วันนี้เราขอแนะนำให้ได้รู้จักปลัดอำเภอใหม่ป้ายแดง ที่อายุน้อยที่สุดในรุ่น ดีกรีปริญญาโทจากนิด้า

ซึ่งเธอมีการวางแผนการเรียนที่เป็นระบบทำให้เรียนจบระดับปริญญาตรีในวัย 19 ปี จบปริญญาโทในวัย 22 ปี และสามารถบรรจุเป็นปลัดอำเภอในวัย 23 ปี เท่านั้น

คุณนาตาชา แก้วเรือง หรือคุณนัต อายุ 23 ปี ชาวจังหวัดสุwรรณบุรี ปัจจุบันเป็นปลัดอำเภอที่ทำการปกครองอำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลwบุรี

จบการศึกาษาระดับ มัธยมศึกษาโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทย าลัย สุwรรณบุรี

ปริญญาตรีคณะ รั ฐ ศาสตร์ ม.รามคำแหง ซึ่งเรียนสมัย ม.ปลาย เป็นหลักสูตร Pre-Degree ของคณะ รั ฐ ศาสตร์ของมหาวิทย าลัยรามคำแหง เป็นระบบการเรียนปริญญาตรีล่วงหน้าโดยใช้วุฒิการศึกษาชั้น ม.3 และจะต้องกำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้น ม.ปลาย ปวช. ปวส. หรือ กศน.

จากนั้นเมื่อ เรียนจบในระดับชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ก็จะสามารถเทียบโอนหน่วยกิตที่สะสมเอาไว้ไปเรียนในภาคปกติของมหาวิทยาลัยได้ตอนจบม.6
เก็บหน่วยกิตได้จนเหลือไว้เรียนในภาคปกติแค่ 2 วิชาประมาณเทอมนึง เลยสามารถทำให้จบ ปริญญาตรี ตอนอายุ 19

ปริญญาโท รั ฐ ประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) คือพอจบ ปริญญาตรี ก็เรียนต่อปริญญาโทเลย จบ ปริญญาโท ตอนอายุ 22 ปี”

ก่อนสอบปลัดบรรจุเป็นข้าราชการท้องถิ่นตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน อบต.แห่งหนึ่งในจังหวัดสุwรรณบุรี (ทำ ง า น ได้ 1 ปี 4 เดือน)

คุณนัตเผยว่าไม่ได้อยากรับราชการตั้งแต่แรก ตอนแรกอยากจะเป็นไกด์นำเที่ยว เป็นแอร์โฮสเตสอะไรแบบนั้นไปมากกว่า

แต่ก็จบ รั ฐ ศาสตร์มา เลยต้องไปสอบเป็นข้าราชการให้พ่อแม่ภูมิใจ เwราะว่าที่บ้านไ ม่ได้มีพื้นฐานจากการเป็นข้าราชการเลย เป็นครอบครัวชาวไร่ชาวนา พ่อกับแม่เลยมีความตั้งใ จว่าอยากให้ลูกได้รับราชการ

แต่พอได้ทำ ง า น จริงๆ ก็รู้สึกชอบอาชีwที่ได้บริการ ปชช. ได้รู้อะไรหลายๆ อย่างในการทำ ง า น ของภาค รั ฐ จนโอกาสก็มาถึง มีเปิดสอบปลัดอำเภอขึ้นมา

ซึ่งก่อนหน้านี้ที่บ้านก็ตั้งความหวังไว้ว่าอยากให้ลูกเป็นปลัดอำเภอ ก็เลยไปสอบเป็นปลัดอำเภอ

และก็คิดว่าตำแหน่งนี้แหละจะสามารถทำอะไรได้อย่างมากมาย ได้ช่วยเหลือคน ได้ตอบคำถามในสิ่งที่ ปชช. ไม่รู้ ให้เขารับรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ให้เยอะที่สุด

การเตรียมตัวสอบนั้น พอมีประกาศว่าเปิดสอบก็เริ่มอ่านเลย ประกอบกับตอนนั้นกำลังทำเล่มจบ ปริญญาโท ด้วย เลยหนักมากเลย อ่านหนังสือด้วยทำเล่มจบด้วย

เลยตัดสินใจสมัครติวกับติวเตอร์ท่านหนึ่ง เป็นคอร์สโค้งสุดท้าย แล้วก็ลองซื้อหนังสือหลายๆ ที่มาอ่าน แถวหน้ารามก็เยอะ ชอบไปเดินเล่นหาซื้อหนังสือที่หน้าราม

ตั้งใจเอาไว้ว่า เมื่อได้เป็นปลัดแล้ววจะช่วยเหลือชาวบ้านอย่างไรในฐานะปลัดอำเภอ

จะเป็นการให้ข้อมูลข่าวสารให้ ปชช. เข้าใจ เข้าถึงและรับรู้ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เป็น ป ร ะ โ ย ช น์ ให้มากที่สุด เwราะการรับรู้เป็นสิ่งจำเป็นมาก แล้วก็ ง า น ในหน้าที่อื่นๆ ก็จะทำให้ดีที่สุด

คติการทำ ง า น

“ทำทุกวันให้ดีที่สุด อย่ามัวไปกังวลกับคำว่าอดีตหรืออนาคต”

ก็ขอแสดงความยินดีกับคุณนัตอีกครั้งหนึ่งนะคะ

เกร็ดความรู้

หลายคนคงสงสัยว่า ปลัดอำเภอ มีหน้าที่อย่างไร

หน้าที่ของปลัดอำเภอ…

การบริหารงานอำเภอ มีนายอำเภอ เป็นหัวหน้าปกครองบังคับบัญชา บริหารราชการอำเภอ ซึ่งมีหัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอที่กระทรวง กรม ส่งมาประจำในอำเภอ และปลัดอำเภอ เป็นผู้ช่วยในการปฏิบัติหน้าที่ มีสถานที่ทำงานคือ “ที่ว่าการอำเภอ” ซึ่งอำเภอ (Amphoe) เป็นหน่วยการปกครองลำดับรองมาจากจังหวัด จัดตั้งขึ้นโดยการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน โดยในแต่ละอำเภอจะแบ่งส่วนย่อยออกเป็น ตำบล และหมู่บ้าน (ข้อมูล : วิกิพีเดีย)

ที่มา ปลัดอําเภอพัน ธุ์เหล็ ก

เรียบเรียงโดย ปริญญาชีวิต

www.parinyacheewit.com